Zoom เผยเทรนด์ความปลอดภัยด้านไซเบอร์ปี 66 [Guest Post]

เมื่อเทรนด์การทำงานในองค์กรต่างๆทั่วโลกเปลี่ยนเป็นแบบไฮบริด เกิดการเพิ่มขึ้นของดิจิทัลฟุตพริ้นมากมาย นำไปสู่การคุกคามและโจมตีทางไซเบอร์ เมื่อเร็วๆนี้ Cyber Security Agency (CSA) ของประเทศสิงคโปร์ประกาศว่ามีบริษัทสิงคโปร์ ที่ตกเป็นเหยื่อของการโจมตีจากมัลแวร์เรียกค่าไถ่ในปีที่แล้วมากขึ้นถึง 54% และเชื่อว่าการคุกคามทางไซเบอร์มีแต่จะซับซ้อนมากยิ่งขึ้น ดังนั้น ถึงเวลาแล้วที่องค์กรต่างๆจะต้องพิจารณาแผนรับมือและตอบสนองต่อภัยคุกคามทางไซเบอร์ (Cyber Resilient) ในฐานะส่วนหนึ่งของกลยุทธ์ทางธุรกิจระยะยาวเพื่อที่จะดำเนินธุรกิจต่อไปได้อย่างมั่นคง

AWS แถลงข่าวทิศทางธุรกิจในประเทศไทยในปี 2566 [Guest Post]

โดย คุณวัตสัน ถิรภัทรพงศ์ Country Manager, AWS ประจำประเทศไทย

การทำงานในปี 2566 จะให้ความสำคัญในเรื่องความยืดหยุ่น การเชื่อมโยงทีมงานและกลุ่ม Gen Z [Guest Post]

โดยปิแอร์-ฌอง ชาลอง หัวหน้าฝ่ายโซลูชันการทำงานแบบไฮบริดและอุปกรณ์ต่อพ่วง ภูมิภาค APJ, HP การทำงานได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมากในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา มีการปะทุใช้งานทางอินเทอร์เน็ตจากสถานที่ต่างๆ เพิ่มขึ้นในช่วงก่อนเกิดโรคระบาด ไปจนถึงภาวะที่นายจ้างจำเป็นต้องจัดหากระบวนการทำงานจากทางไกลและแบบไฮบริดจากทุกๆ ที่เป็นวิธีการทำงานหลักเพื่อให้องค์กรเชื่อมต่อกันอยู่เสมอ และในปีพ.ศ. 2566 วิธีการปฏิบัติงานจะเป็นอย่างไร ซึ่งจะไม่ใช่เป็นเพียงการรับรู้ของพนักงานเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงสถานที่ทำงานอีกด้วย ซึ่งต่อไปจะเป็นเทรนด์ที่ทุกท่านควรให้ความสนใจมากขึ้นในพ.ศ. นี้ เทรนด์ #1: ‘งาน’ หมายถึงการปฏิบัติงานแบบไฮบริดและต้องยืดหยุ่น  ในปี 2566 ‘การทำงานแบบไฮบริด’ จะไม่ใช่เทรนด์อีกต่อไป แต่จะเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตการทำงานตามปกติในทุกวัน และต้องมีความยืดหยุ่น เมื่อเร็วๆ นี้ ได้มีการถกประเด็นถึงความเป็นไปได้ของการทำงาน 4 วันต่อสัปดาห์ โดยรัฐสภาในประเทศสิงคโปร์เองได้ถกเถียงกันเกี่ยวกับแนวคิดดังกล่าวไปเมื่อต้นปีนี้ ได้พบว่า 2 ใน 3 ของพนักงานในสิงคโปร์ชื่นชอบการปฏิบัติงานแบบยืดหยุ่นที่จะเอื้อให้พนักงานสามารถควบคุมชั่วโมงการทำงานของตนเองได้ดีขึ้น ทั้งนี้…

หัวเว่ยผนึกกำลังทุกภาคส่วนไทย ร่วมเดินหน้าสร้างเมือง “กรุงเทพอัจฉริยะ” เชื่อมต่อนวัตกรรม ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี สร้างไลฟ์สไตล์คนกรุงที่ปลอดภัยไร้รอยต่อ [Guest Post]

ในยุคที่เทคโนโลยีดิจิทัลกำลังเข้ามาปรับเปลี่ยนทั้งวิถีชีวิตของผู้คน กระบวนการทำงาน และการเชื่อมต่อถึงกันมากขึ้นเรื่อย ๆ คอนเซ็ปต์เรื่อง “Smart City” หรือเมืองอัจฉริยะจึงกลายเป็นอีกหนึ่งหัวข้อที่หลายภาคส่วนกำลังให้ความสำคัญกันในขณะนี้ หนึ่งในนั้นคือแบรนด์ผู้นำด้านเทคโนโลยีระดับโลกอย่างหัวเว่ย ที่เรียกได้ว่าเป็นตัวตั้งตัวตีด้านการผลักดันการเปลี่ยนผ่านสู่ยุคดิจิทัลในประเทศไทยจากภาคเอกชนมาโดยตลอด ล่าสุดทางบริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จำกัด ได้ผนึกกำลังอย่างยิ่งใหญ่กับองค์กรภาครัฐ ซึ่งนำโดยกรุงเทพมหานคร กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และภาคเอกชน จากพันธมิตรกว่า 160 องค์กร เพื่อระดมความคิด ร่วมสร้าง “กรุงเทพฯ เมืองน่าอยู่” ให้เกิดขึ้นจริงในอนาคตอันใกล้ ซึ่งนับว่าเป็นหนึ่งในความเคลื่อนไหวสำคัญที่ทุกฝ่ายร่วมกันหารือและแบ่งปันวิสัยทัศน์ ทัศนคติ รวมถึงแนวคิดเชิงกลไก เพื่อกำหนดทิศทางการขับเคลื่อนกรุงเทพฯ สู่ “Smart City” อย่างแท้จริง

ผลสำรวจเผย 73% ของผู้นำธุรกิจมองว่าการใช้เทคโนโลยีอย่างมีความรับผิดชอบ เป็นเรื่องเร่งด่วน [Guest Post]

Thoughtworks (NASDAQ: TWKS) บริษัทที่ปรึกษาด้านเทคโนโลยีระดับโลกที่ผสานกลยุทธ์การออกแบบและวิศวกรรมเพื่อขับเคลื่อนนวัตกรรมดิจิทัล ได้ร่วมกับ MIT Technology Review Insights ทำการสำรวจความคิดเห็นของผู้นำธุรกิจเรื่องการใช้เทคโนโลยีอย่างมีความรับผิดชอบ รวมทั้งแรงจูงใจ และประโยชน์ที่จะเอื้อต่อธุรกิจได้

OpenAI เปิดรับ Waitlist สำหรับ ChatGPT เวอร์ชันเสียเงิน

ล่าสุด OpenAI บริษัทผู้พัฒนา ChatGPT นั้นได้เตรียมการเปิด Waitlist สำหรับการเข้าถึง ChatGPT ในเวอร์ชันเสียเงินที่จะมีฟีเจอร์ปรับปรุงเพิ่มเติมมากขึ้นกว่าเวอร์ชันฟรีที่ปล่อยออกมาก่อนหน้านี้แล้ว

NT เผยเทรนด์ปี 2023 องค์กรยุคใหม่ขับเคลื่อนธุรกิจด้วย “ไอที” ตอบรับเศรษฐกิจขาขึ้น [Guest Post]

NT ประเมินทิศทางเทรนด์เทคโนโลยีปี 2023 สร้างโอกาสเติบโตองค์กรด้วย “ไอที” ชิงความได้เปรียบทางธุรกิจ เติบโตอย่างเป็นระบบ แม่นยำ ลดความเสี่ยง หนุนภาครัฐและเอกชนเสริมกลยุทธ์ด้านธุรกิจดิจิทัล