เกม Pac-Man นั้นเป็นเกมอาร์เคด (arcade) ที่นิยมมากในช่วงปี 2523 ซึ่งทำสถิติในการใช้เวลาพัฒนาสร้างขึ้นมาถึงราว 17 เดือนในการออกแบบ เขียนโปรแกรมจนเสร็จสมบูรณ์ หากแต่ 40 ปีให้หลัง NVIDIA ใช้เวลาเพียงแค่ 4 วันเท่านั้นในการเทรน GameGAN ระบบ AI ใหม่ที่สามารถสร้างเกมขึ้นมาได้ทั้งหมดโดยอิงจากข้อมูลที่เข้าไปรับชมระบบ AI อีกตัวที่เล่นให้ดูเพียงเท่านั้น
GAN
- ADPT Interview
- ADPT Review
- Brands
- Business
- Career
- Consumer Technology
- COVID-19
- Event & Seminar
- Featured Posts
- GAN
- Guest Post
- Industry
- PR
- Recommended Reading
- Research & Science
- Reviews
- Self Improvement
- Technoethics
- Technology
- TechTalk Webinar
- TechTalkThai Cross Post
- TechTalkThai Training
- To Email
- Trend & Report
- Uncategorized
- Use Case
- Webinar
- More
AI จาก NVIDIA นำรอยยิ้มของสัตว์เลี้ยงไปใส่บนหน้าสัตว์ตัวอื่นได้
ทีมนักวิจัย NVIDIA ออกอัลกอริธึมประมวลผลภาพชื่อ GANimal ที่ให้คุณถ่ายรูปสัตว์เลี้ยงของคุณและนำสีหน้าของมันไปใส่บนหน้าสัตว์ตัวอื่นได้ ด้วยการใช้เทคนิค GAN เข้าช่วย
Google ปล่อยฐานข้อมูล deepfake ขนาดยักษ์ต่อกรกับคลิปปลอม deepfake
ในช่วงปีที่ผ่านมา อัลกอริธึมมีความสามารถมากขึ้นเรื่อยๆ ในการสร้างคลิปปลอมที่ดูแยกไม่ออกจากความจริง ผู้เชี่ยวชาญต่างพยายามค้นหาวิธีตรวจจับคลิปปลอม deepfake และ Google เองก็ต้องการเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยสนับสนุนนักวิจัยที่ทำงานพัฒนาเครื่องมือตรวจจับ deepfake ด้วยการปล่อยชุดข้อมูลวีดีโอ deepfake ขนาดใหญ่เป็นฐานข้อมูลโอเพ่นซอร์สจำนวน 3,000 คลิป
AI เปลี่ยนภาพเซลฟี่เป็นภาพแนวคลาสสิค
ช่วงนี้มีกระแสใช้แอปเปลี่ยนภาพใบหน้าของคุณให้กลายเป็นภาพผู้สูงวัย แต่หากคุณอยากลองเปลี่ยนใบหน้าของคุณเป็นภาพจิตรกรรมคลาสสิค ทางนักวิจัยจาก MIT-IBM Watson AI Lab ก็ได้สร้างเว็บไซต์สนุกๆ ที่ใช้ AI เปลี่ยนภาพเซลฟี่ของคุณให้กลายเป็นภาพศิลปะสุดคลาสสิค
ครั้งแรกของโลก! AI ออกแบบเสื้อผ้าแฟชั่น
การให้อัลกอริธึมสร้างผลงานแฟชั่นสุดล้ำอาจดูเป็นเรื่องที่เป็นไปได้ยาก แต่นักศึกษาออกแบบสองคนพึ่งทลายข้อจำกัดนั้นด้วยการเปิดบริษัทแฟชั่นสตาร์ทอัพ Glitch และเริ่มจำหน่ายเสื้อผ้าแฟชั่นออกแบบโดยอัลกอริธึมเป็นครั้งแรกของโลก
MIT สร้าง AI ทั้งตรวจจับและสร้างภาพปลอม
การเร็นเดอร์ (การคำนวณค่าสีและความสว่าง) และการตัดต่อภาพอาจใช้เวลาหลายชั่วโมง แต่นักวิจัยจาก MIT และ IBM ต้องการจะสร้างความเปลี่ยนแปลง โดยทีมวิจัยได้ฝึก AI ให้สร้างภาพรูปถ่ายตั้งแต่ต้นและให้ AI ตัดต่อวัตถุในรูปเอง นอกจากจะเป็นประโยชน์ต่อศิลปินและนักออกแบบแล้ว ระบบยังให้ข้อมูลเชิงลึกว่า โครงข่ายประสาทเทียมเรียนรู้บริบทได้อย่างไร และทีมวิจัยหวังที่จะใช้ประโยชน์เครื่องมือนี้ในการตรวจจับภาพปลอมหรือภาพที่ผ่านการดัดแปลง
AI ใหม่สามารถอ่านริมฝีปากแล้วสังเคราะห์เสียงได้
โมเดลรู้จำเสียง (audio speech recognition) ในปัจจุบันนั้นยังไม่สามารถดำเนินการได้ดีพอในสภาพแวดล้อมที่มีสิ่งรบกวน เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาดังกล่าวนักวิจัยจาก Samsung และ Imperial College ในลอนดอนจึงได้ร่วมกันพัฒนาโซลูชัน deep learning ที่ใช้เทคนิค Computer Vision ในการรู้จำเสียง ซึ่งโมเดลสามารถที่อ่านริมฝีปาก (lipreading) ได้รวมถึงสังเคราะห์เสียงออกมาได้จากใบหน้าและริมฝีปากที่เห็นในวีดีโอ
Pix2PixHD เปิด opensource แล้วบน NGC
Pix2PixHD คือการพัฒนาวิธีการ deep learning บน PyTorch สำหรับแปลงภาพให้กลายเป็นภาพเสมืองจริงได้ด้วยความละเอียดสูง (เช่น 2048×1024) ซึ่งวันนี้ NVIDIA ได้ปล่อยโค้ดออกมาบน NGC เพื่อให้ใช้งานเชิงพาณิชย์ด้วยไลเซนแบบ BSD ได้แล้ว
เทคโนโลยี deepfake ใหม่! ใช้แค่รูปและไฟล์เสียงก็สร้างคลิปปลอมร้องเพลงได้ง่ายๆ
งานวิจัยใหม่จาก Imperial College ในกรุงลอนดอน และศูนย์วิจัย AI ของ Samsung ในสหราชอาณาจักร แสดงวิธีการที่รูปภาพเพียงรูปเดียวและไฟล์เสียงสามารถนำไปใช้สร้างคลิปวีดีโอคนร้องเพลงหรือพูดได้
MIT สร้างโครงข่ายประสาทเทียมให้เข้าใจพิซซ่า
ทีมนักวิจัยจาก Computer Science and Artificial Intelligence Laborary (CSAIL) แห่ง MIT ได้พัฒนาโมเดล AI ที่รับคำสั่งชุดและสร้างผลลัพธ์ออกมา ซึ่งสามารถนำไปปรับใช้กับงานด้านการก่อสร้างหรือการใช้งานหุ่นยนต์ได้แม้อาจจะเป็นงานใหญ่ไปหน่อย แต่ทีมวิจัยก็ตัดสินใจที่จะเริ่มต้นทดลองกับพิซซ่า โดยให้ชื่อโครงข่ายประสาทเทียมนี้ว่า PizzaGAN ที่สร้างภาพพิซซ่าได้ทั้งก่อนและหลังอบพิซซ่า