ภัยคุกคามต่อเนื่องขั้นสูงจะก่อเกิดคลื่นลูกใหม่ของการโจมตีแบบทำลายล้าง ขับเคลื่อนโดยบริการอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ตามสั่ง หรือ Cybercrime-as-a-Service (CaaS)
Fortinet
- Acclivis
- Acer
- Adobe
- Advice
- AIS
- Alcatel-Lucent Enterprise
- Alibaba
- Alteryx
- Amazon
- AMD
- Apple
- ASUS
- Autodesk
- Automation Anywhere
- AWS
- Baidu
- Bangkok Bank
- BenQ
- Blue Prism
- Bluebik
- brother
- Canon
- Cisco
- DataRobot
- Dell
- Dreame
- DTAC
- Dynabook
- EGAT
- Epicor
- Epson
- Fortinet
- G-Able
- Garmin
- Grab
- HP
- HPE
- HPE Aruba
- Huawei
- IBM
- Infor
- Intel
- K2
- Lenovo
- LINE
- Mercedes-Benz
- Meta
- MFEC
- Microsoft
- MongoDB
- motorola
- MSI
- Nokia
- NT
- Nutanix
- NVIDIA
- OPPO
- Oracle
- Oracle NetSuite
- Palo Alto Networks
- QAD
- Qlik
- RapidMiner
- Red Hat
- Robinhood
- Sage
- Salesforce
- Samsung
- SAP
- SAP SuccessFactors
- SAS
- Schneider Electric
- Shopee
- Siemens
- Singha
- SnapLogic
- STelligence
- Synnex
- Synology
- Tableau
- Talend
- TCL
- Tencent
- Tesla
- TikTok
- UiPath
- Veeam
- Veritas
- Vivo
- VMWare
- Western Digital
- Workday
- Xiaomi
- Zendesk
- Zoho
- Zoom
- More
[Guest Post] แนวทางบริหารจัดการดาต้าเบส ที่ช่วยจัดการปัญหาเรื่องค่าใช้จ่ายและความปลอดภัยขององค์กร
แนวทางบริหารจัดการดาต้าเบสในปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไปแล้ว ข้อถกเถียงเกี่ยวกับประโยชน์ของพับลิคคลาวด์เมื่อเทียบกับไพรเวทคลาวด์ที่ครั้งหนึ่งเคยเป็นประเด็นร้อนแรงนั้น ได้กลายเป็นเรื่องล้าสมัยไปอย่างรวดเร็ว เนื่องจากองค์กรต่างต้องวุ่นวายอยู่กับการใช้งานดาต้าเบสหลายประเภท บนสภาพแวดล้อมไฮบริดคลาวด์ แอปพลิเคชันจำนวนมากในปัจจุบันที่ใช้ดาต้าเบสมากกว่าหนึ่งประเภท และแอปพลิเคชันที่เป็นคอนเทนเนอร์ไรซ์ที่ทันสมัยต่าง ๆ ล้วนเป็นปัจจัยขับเคลื่อนให้เกิดการกระจัดกระจายของดาต้า (sprawl of data) และดาต้าเบส ปริมาณมหาศาลเหล่านี้มีข้อมูลรวมกันหลายสิบหรือหลายร้อยเพตาไบต์ ซึ่งผู้ดูแลระบบจำเป็นต้องบริหารจัดการ และแน่นอนว่าเป็นปริมาณที่มากมายเกินกว่าจะจัดการได้