ปัญญาประดิษฐ์ (AI) เป็นผู้เปลี่ยนเกมในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา และมีศักยภาพที่จะเปลี่ยนแปลงอุตสาหกรรมต่างๆ มากมาย แต่สำหรับปี 2566 นี้ generative AI ได้กลายเป็นเทคโนโลยีที่ก้าวล้ำ ซึ่งจะทำให้โลกตะลึง
Research & Science
- ADPT Interview
- ADPT Review
- ADPT Webinar
- Brands
- Business
- Career
- Consumer Technology
- COVID-19
- Event & Seminar
- Featured Posts
- GAN
- Guest Post
- Industry
- PR
- Recommended Reading
- Research & Science
- Reviews
- Self Improvement
- Software Development & DevOps
- TCL
- Technoethics
- Technology
- TechTalk Webinar
- TechTalkThai Cross Post
- TechTalkThai Training
- To Email
- Trend & Report
- Uncategorized
- Use Case
- Video
- Webinar
- Western Digital
- Zycoo
- More
‘รีซัลทิคส์’ สร้างช่องทางใหม่ในการมีส่วนร่วมของกลุ่มเป้าหมาย ผ่านประสบการณ์แบบเชื่อมโยงที่ขับเคลื่อนโดย RESUL [Guest Post]
รีซัลทิคส์ (Resulticks) ขึ้นชื่อในด้านการแสวงหานวัตกรรมโซลูชันการมีส่วนร่วมของกลุ่มเป้าหมายอย่างไม่ลดละ ปัจจุบันทางบริษัทฯ กำลังพลิกโฉมวงการโดยเล็งสร้างประสบการณ์ที่เชื่อมโยงแบรนด์ต่าง ๆ กับกลุ่มเป้าหมายของตนเข้าด้วยกัน ผ่านผลิตภัณฑ์เรือธงในชื่อ RESUL (รีซัล)
โลกที่ไร้ขอบเขต: พื้นฐานใหม่ของต้นทุนมนุษย์ [Guest Post]
โลกของการทำงานเปลี่ยนไปอย่างหน้ามือเป็นหลังมือ นับตั้งแต่การทำงานทางไกลช่วงโรคระบาดไปจนถึง ‘การลาออกครั้งใหญ่’ และ ‘การลาออกอย่างเงียบ ๆ’ บริบทสังคมที่เปลี่ยนไปและการหยุดชะงักที่เกิดขึ้นโดยไม่ทันตั้งตัว ทำให้เราต้องเปลี่ยนมุมมองในการจ้างงานแบบเดิม ๆ ที่ซ้ำซากให้ยืดหยุ่นและคล่องตัวคล่องตัวมากขึ้น จากข้อมูลของกรมการจัดหางาน พบว่า ผู้ที่มาลงทะเบียนคนว่างงานส่วนใหญ่ให้เหตุผลว่าลาออกมากกว่าโดนให้ออกหรือหมดสัญญาจ้างงาน[1]
พาโล อัลโต เน็ตเวิร์กส์ เผยกลยุทธ์การปกป้อง ภาคการผลิตในยุคอุตสาหกรรม 4.0 จากภัยคุกคามไซเบอร์
จากรายงานมัลแวร์เรียกค่าไถ่และการขู่กรรโชกประจำปี 2566 จาก Unit 42 ของพาโลอัลโต้เน็ตเวิร์กส์ ระบุว่า อุตสาหกรรมการผลิตตกเป็นเป้าหมายหลักในปี 2565 โดยมีบริษัทที่ตกเป็นเหยื่อถึง 447 แห่ง ถูกเปิดเผยข้อมูลบนเว็บไซต์ และสำหรับในประเทศไทย บริการเฉพาะด้านและบริการทางกฎหมาย รวมถึงอุตสาหกรรมการผลิต ยังคงเป็นเป้าหมายหลักในยุคอุตสาหกรรม 4.0 ภาคอุตสาหกรรมการผลิตปรับเปลี่ยนเข้าสู่ระบบดิจิทัล และยกระดับสู่โรงงานอัจฉริยะ มีการนำระบบอัตโนมัติ อุปกรณ์ IoT และ IIoT เข้ามาใช้ในโรงงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการระบบไอทีในองค์รวมทั้งหมดของโรงงาน อุปกรณ์เหล่านี้เป็นจุดเริ่มต้นสำหรบอาชญากรไซเบอร์ในการแทรกซึมเข้าเครือข่าย และขอบข่ายของความปลอดภัยไซเบอร์ได้ขยายตัวออกไป
การ์ทเนอร์ เผย 47% ของพนักงานดิจิทัลประสบปัญหาค้นหาข้อมูลที่จำเป็นเพื่อการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ [Guest Post]
ผู้บริหารในองค์กรดิจิทัล (Digital Workplace) สามารถใช้แอปพลิเคชันและแนวทางปฏิบัติที่ใช้ร่วมกันได้เพื่อปรับปรุงผลลัพธ์ทางธุรกิจ
ผลสำรวจการ์ทเนอร์ เผยผู้บริหาร 45% ระบุตรงกันว่า ChatGPT กระตุ้นการลงทุน AI เพิ่มขึ้น [Guest Post]
ปัจจุบัน องค์กร 70% อยู่ในช่วงของการสำรวจเทคโนโลยี Generative AI กรุงเทพฯ ประเทศไทย 6 มิถุนายน 2566 – การ์ทเนอร์ อิงค์ เผยผลสำรวจของผู้นำธุรกิจกว่า 2,500 ราย โดย 45% ของผู้ตอบแบบสำรวจระบุว่าความร้อนแรงของ ChatGPT กระตุ้นให้พวกเขาเพิ่มการลงทุนด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) และ 70% ของผู้ตอบแบบสำรวจบอกว่าองค์กรของตนอยู่ในช่วงของการสำรวจและศึกษาเทคโนโลยี Generative AI ขณะที่ 19% นั้นอยู่ในช่วงของการทดลองหรือในช่วงของการผลิต
IDC เผยตลาดสมาร์ทโฟนไทยไตรมาส 1 ปี 2023 หดตัว 25.7% อยู่ที่ 3.45 ล้านเครื่อง
30 พ.ค. 2566 – International Data Corporation (IDC) เผยข้อมูลสำรวจ Worldwide Quarterly Mobile Phone Tracker ตลาดสมาร์ทโฟนไทยในไตรมาสที่ 1 ปี 2566 มีการจำหน่ายสมาร์ทโฟนไปกว่า 3.45 ล้านเครื่อง โดยหดตัวจากปีก่อน 25.7%
วิธีต่อกรกับภาวะเงินเฟ้อด้วยดิจิทัลเทคโนโลยีของบริษัทผู้ผลิตอาหารและเครื่องดื่ม [Guest Post]
บทความโดย เทอร์รี สมา, รองประธานอาวุโสและผู้จัดการทั่วไป ประจำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกและญี่ปุ่น, บริษัทอินฟอร์
ผลสำรวจการ์ทเนอร์เผย ไม่ถึงครึ่ง (44%) ของทีม Data & Analytics ที่ให้คุณค่าจากสิ่งที่ทำแก่องค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ [Guest Post]
กรุงเทพฯ ประเทศไทย 19 เมษายน 2566 – ผลสำรวจล่าสุดของการ์ทเนอร์ อิงค์ เผยน้อยกว่าครึ่ง (44%) ของผู้นำด้านข้อมูลและการวิเคราะห์ (D&A) รายงานว่าทีมของเขามีประสิทธิภาพในการมอบคุณค่าแก่องค์กร โดยผู้บริหารด้านข้อมูลและการวิเคราะห์ (Chief Data And Analytics Officer หรือ CDAO) ต้องให้ความสำคัญกับการมีบทบาท (Presence) ความยึดมั่นกับสิ่งที่ทำ (Persistence) และผลจากการปฏิบัติงาน (Performance) เพื่อประสบความสำเร็จในบทบาทที่รับผิดชอบและมอบผลลัพธ์ทางธุรกิจที่สามารถวัดค่าได้
ภัยคุกคามด้านไซเบอร์ กับการแนวทางการกำหนดกลยุทธ์สำหรับการดำเนินธุรกิจ [Guest Post]
บทความโดย คุณวรพงษ์ สุธานนท์ พาร์ทเนอร์ | ที่ปรึกษาความเสี่ยง ดีลอยท์ ประเทศไทย ThaiCERT (Thailand Computer Emergency Response Team) ได้รวมรวมสถิติภัยคุกคามด้านไซเบอร์ของไทยในปี 2564 พบว่า “การเกิดช่องโหว่” เป็นภัยคุกคามอันดับ 1 คิดเป็นสัดส่วนประมาณ 1 ใน 3 ของเหตุคุกคามกว่า 2,000 เรื่อง และในสามเดือนแรกของปี 2565 ภัยคุกคามด้านไซเบอร์ที่พบบ่อยที่สุดเกิดจากการโจมตีด้วยโปรแกรมไม่พึงประสงค์ ซึ่งคิดเป็น 53% ของจำนวนเรื่องที่ได้รับรายงาน