จีนเล่นใหญ่! สร้างเขื่อนด้วย AI และเครื่องพิมพ์สามมิติ ไม่ง้อแรงงานคน คาดเสร็จใน 2 ปี

จีนเตรียมสร้างเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำด้วย AI และหุ่นยนต์ก่อสร้างด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติขนาดใหญ่ที่สุดของโลก โดยไม่ใช้แรงงานคน คาดสร้างเสร็จในอีก 2 ปี

ชวนส่องบ้านหรู สร้างผนังบ้านใน 8 วัน ด้วยเครื่องพิมพ์ 3 มิติ

กว่าจะสร้างบ้านให้เสร็จสักหลังต้องใช้เวลานับปี แต่ด้วยเทคโนโลยีเครื่องพิมพ์ 3 มิติ ก็สามารถช่วยร่นระยะเวลาให้สั้นลงได้อย่างไม่น่าเชื่อ ดังเช่นบ้านใหม่พิมพ์สามมิติจากบริษัท ICON ในเมืองออสติน รัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา เบื้องหลังของการสร้างบ้านและหน้าตาของบ้านเป็นอย่างไรนั้น ADPT ขอพาทุกท่านไปชมกันค่ะ

ซูชิบนอวกาศ? ญี่ปุ่นหัวใสพัฒนาเครื่องพิมพ์อาหาร 3 มิติ ส่งอาหารให้นักบินอวกาศเตรียมฟินภายในปี 2050

หลังจากที่มนุษย์ประสบความสำเร็จในการส่งคนและสัตว์ขึ้นบนอวกาศมาแล้ว ก็ถึงเวลาที่ต้องส่งอาหารเทเลพอร์ตขึ้นอวกาศ และนั่นจึงเป็นที่มาของโปรเจกต์ Open Meals นำโดย Dentsu บริษัทโฆษณาญี่ปุ่นที่วิจัยและพัฒนาเครื่องพิมพ์สามมิติและวัสดุใช้พิมพ์ให้สามารถกลายเป็นอาหารได้ เพื่อใช้ผลิตอาหารบนอวกาศในอนาคตอันใกล้

สร้างบ้านด้วยเทคโนโลยีพิมพ์ 3 มิติ ลดทั้งเวลาและราคาได้ถึงครึ่ง

เทคโนโลยีพิมพ์ 3 มิติ ได้นำมาใช้สร้างวัตถุรูปแบบสามมิติ และตอนนี้ก็ได้พัฒนามาสู่การสร้างผลงานขนาดใหญ่ขึ้น จนกลายมาเป็นบ้านในฝัน ซึ่งอาจจะกลายเป็นอนาคตของการสร้างบ้านที่ทุ่นทั้งเวลาและราคาให้ลดลงได้ถึงครึ่งหนึ่งของการสร้างบ้านแบบดั้งเดิม

[Guest Post] Ultimaker ปรับกลยุทธ์สู่การเป็นธุรกิจแพลตฟอร์ม มุ่งขับเคลื่อนนวัตกรรมและการเติบโตทั่วโลก

เผยกลยุทธ์แพลตฟอร์มและบริการซอฟต์แวร์รูปแบบใหม่ ซึ่งใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศอันเป็นเอกลักษณ์ เปิดตัวครั้งแรกที่งาน Ultimaker Transformation Summit

Ford และ HP ร่วมทีมเพื่อสร้างชิ้นส่วน F-250 จากขยะเครื่องพิมพ์สามมิติ

จากมุมมองในเรื่องความยั่นยืน หนึ่งในข้อได้เปรียบในการพิมพ์สามมิติ (3D) นั้นคือสามารถสร้างขยะได้น้อยกว่าวิธีการผลิตแบบดั้งเดิม แต่ว่าถ้านำเอาชิ้นส่วนตัวต้นแบบตัวเก่าหรือที่ทำผิดพลาดมารวมๆ กัน ก็อาจจะยังมีพลาสติกจำนวนหนึ่งเลยที่จะต้องลงเอยด้วยการฝังกลบ และสิ่งนั้นเองที่ทำให้มีการพัฒนาล่าสุดที่น่าสนใจจากทาง Ford โดยด้วยความช่วยเหลือจาก HP และบริษัทอื่นๆ อีก 3 แห่ง จึงทำให้ Ford ค้นพบวิธีการที่จะใช้ซ้ำชิ้นส่วนที่พิมพ์สามมิติที่จะทิ้งนั้นมาสร้างชิ้นส่วนรถยนต์ที่ฉีดขึ้นรูปได้

เทคนิคพิมพ์ 3 มิติแบบใหม่ช่วยเร่งการพิมพ์อวัยวะพร้อมใช้เพียงไม่ถึงชั่วโมง

ในการพิมพ์อวัยวะสามมิตินั้น หากผลิตออกมาช้าเกินไป อาจทำลายเนื้อเยื่อของผู้ป่วยได้ แต่ในเร็ว ๆ นี้น่าจะมีวิธีที่เร็วกว่าและมีประสิทธิภาพมากกว่า เมื่อทีมนักวิจัยจาก The University at Buffalo ได้พัฒนาเทคนิคพิมพ์สามมิติที่เร็วกว่าวิธีมาตรฐานถึง 10 – 50 เท่า

เทคนิคพิมพ์ 3 มิติใหม่อาจทำให้หุ่นยนต์นิ่มใช้งานได้จริงมากขึ้น

ก้าวไปอีกนิดหนึ่งแล้วในการสร้างหุ่นยนต์นิ่ม (soft robot) เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ได้ง่ายขึ้น โดยนักวิจัยจาก Rice University ได้พัฒนาเทคนิคการพิมพ์ 3 มิติ (ทีมเรียกกันว่า “4D”) สำหรับวัสดุที่สามารถเปลี่ยนแปลงรูปร่างอื่นๆ ได้อัตโนมัติเมื่อถูกผ่านกระแสไฟฟ้า หรือเปลี่ยนอุณหภูมิ หรือเพียงแค่กดน้ำหนักลงไป

ทีมวิศวกร Amazon พัฒนา Face shield สำหรับเจ้าหน้าที่แนวหน้า

ทีมวิศวกรจากหน่วยโดรนเดลิเวอรีของ Amazon ได้ทำงานร่วมกับกลุ่มอาสาสมัครพิมพ์สามมิติเพื่อพัฒนาหน้ากากป้องกันใบหน้าใช้ซ้ำได้ (reusable face shield) สำหรับเจ้าหน้าที่แนวหน้า

โฟมพิมพ์สามมิติสามารถขยายใหญ่ขึ้น 40 เท่าจากขนาดเริ่มต้น

จนกระทั่งถึงตอนนี้ ขนาดของวัตถุพิมพ์สามมิตินั้นยังคงถูกจำกัดด้วยขนาดของเครื่องพิมพ์สามมิติ ซึ่งในกรณีส่วนใหญ่ การที่จะสร้างสิ่งของขนาดใหญ่อย่างเครื่องบิน ยานอวกาศ ผู้ผลิตจะต้องใช้วิธีการสร้างชิ้นส่วนพิมพ์สามมิติเล็กๆ ออกมาแล้วนำชิ้นส่วนเหล่านั้นมาเชื่อม ยึด หรือติดกาวส่วนเหล่านั้นเข้าด้วยกัน แต่สิ่งนี้อาจจะเปลี่ยนแปลงไปในเร็วๆ นี้ได้ โดยทีมจาก UC San Diego ได้พัฒนาเรซินโฟมที่สามารถขยายใหญ่ได้มากถึง 40 เท่าจากขนาดเริ่มต้น